วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

Lyric : 千言萬語 (Qiānyán wàn yǔ) พันคำรำพันหมื่นวจีเอ่ย , Artist : Teresa Teng (เติ้งลี่จวิน)



Lyric : 千言萬語 (Qiānyán wàn yǔ) 
             พันคำรำพันหมื่นวจีเอ่ย
Artist : Teresa Teng (เติ้งลี่จวิน)


不 知 道  了 什 么 
Bù zhīdào wèile shénme
ไม่เข้าใจว่าทำไมหนอ
 
 愁 它   着 我
Yōuchóu tā wéiràozhe wǒ
ความเศร้าจึงวนเวียนอยู่กับฉัน 
 
我 每 天 都 在 祈 祷 
Wǒ měitiān dōu zài qídǎo
ทุกวันฉันเฝ้าอธิษฐาน
 
快 赶 走  的 寂 寞
Kuài gǎn zǒu ài de jìmò
ให้ความอ้างว้างแห่งความรักนี้เร่งผ่านพ้นไป 
 
那 天 起 你  
Nà tiān qǐ nǐ duì wǒ shuō
จากวันนั้นที่เธอบอกกับฉัน
 
 着 我 
Yǒngyuǎn de àizhe wǒ
ว่าจะรักฉันชั่วนิรันดร์กาล 
 
千 言和 万  
Qiānyán hé wàn yǔ
พันคำรำพันและหมื่นวจีเอ่ย
 
随 浮 云 掠  
Suí fúyún lüèguò
เหมือนผ่านพ้นดุจลอยล่องตามก้อนเมฆไป



Lyric : 梅花 (Méihuā) , Artist : Teresa Teng (เติ้งลี่จวิน)



Lyric : 梅花 (Méihuā)
Artist : Teresa Teng (
เติ้งลี่จวิน)

梅花,梅花满天下
Méihuā méihuā mǎn tiānxià
ดอกเอยดอกเหมยสะพรั่งทั่วหล้า
Plum, plum all over the world.

愈冷它愈开花
Yù lěng tā yù kāihuā
ยิ่งเหน็บหนาวเจ้ายิ่งเบ่งบาน
The more cold it more flowering.

梅花坚忍象征我们
Méihuā jiānrěn xiàngzhēng wǒmen
ดอกเหมยกร้าวแกร่งเป็นสัญลักษณ์
Plum perseverance symbolizes us.

巍巍的大中
Wéiwéi de dà zhōnghuá
แห่งชนชาติจีนอันยิ่งใหญ่ของผองเรา
Towering Greater China.

看啊遍地开了梅花
Kàn a biàndì kāile méihuā
พินิจดูดอกเหมยทั่วปฐพี
Look at the plum blossom everywhere.

有土地就有它
Yǒu tǔdì jiù yǒu tā
ที่ใดมีผืนดิน ที่นั่นย่อมมีเจ้า
There is a land with it.

冰雪风雨它都不怕
Bīngxuě fēngyǔ tā dōu bùpà
หิมะลมฝนล้วนไม่หวาดหวั่น
It is not afraid of snow and rain.

它是我的国花
Tā shì wǒ de guóhuā
เจ้าคือบุปผาประจำชาติเรา
It is my national flower.

ซ้ำทั้งหมด 1 รอบ

บทความเพิ่มเติม



     เพลง The Plum Blossom (梅花;méihuā) เป็นเพลงรักชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบภาพยนตร์เรื่อง (梅花) (1976) ประพันธ์โดยผู้อำนวยการ หลิวเจียฉาง (劉家昌) แล้ว เจียงเว่ยกั๊วะ (蔣緯國) ได้นำมาเรียบเรียงใหม่เป็นเพลง The Plum Blossom March (進行曲進行曲) ดอกเหมยถูกนำมาใช้เป็นดอกไม้ประจำชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 1964 เพลงเปรียบเสมือนความยืดหยุ่นของดอกเหมยกับของคนจีน (ไต้หวัน) ซึ่งมีความโดดเด่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสภาพทางการเมืองของปี 1960 ดอกเหมยเป็นสัญลักษณ์ของความยืดหยุ่นในการเผชิญกับความทุกข์ยากมีสามเกสรเป็นสัญลักษณ์สามหลักการของประชาชนซุนยัตเซ็นและห้ากลีบซึ่งเป็นตัวแทนของห้าสาขาของรัฐบาล

Credited by :
https://en.wikipedia.org/wiki/The_Plum_Blossom

เนื้อเพลง ( 独上西楼) - Dú shàng xī lóu – เดียวดายในหอตะวันตก ศิลปิน Teresa Teng (เติ้งลี่จวิน)



เนื้อเพลง ( 独上西楼) - Dú shàng xī lóu –
              เดียวดายในหอตะวันตก
ศิลปิน Teresa Teng (เติ้งลี่จวิน)

*无言独上西楼
Wú yán dú shàng xī lóu
อู๋เหยียนตู๋ซั่งซีโหลว
เงียบงันเดียวดายในหอตะวันตก

月如
Yuè rú gōu
เย่ว์หรูโกว
จันทราแหว่งเว้าดุจเคียวขอ

寂寞梧桐
Jìmò wútóng
จี้มั่วอู๋ถง
ต้นอู๋ถงอ้างว้าง

深院清秋
Shēn yuàn suǒ qīngqiū
เซินย่วนสั่วชิงชิว
ลานบ้านลึกเร้นถูกสีสันแห่งฤดูสารทปกคลุม

剪不断 理
Jiǎn bùduàn lǐ hái luàn
เจี่ยนปู๋ต้วน หลี่ไหล่วน
ตัดไม่ขาด ใจว้าวุ่น

是离愁
Shì líchóu
ซื่อหลีชิว
คือความอาลัยเมื่อจากบ้านเกิดเมืองนอน

有一番滋味在心**
Biéyǒuyīfān zīwèi zài xīntóu
เปี๋ยโหย่วอี้ฟานจือเว่ยไจ้ซินโถว
คงความรู้สึกหนึ่ง ดำรงอยู่ในใจ

พูดซ้ำทั้งหมด 1 รอบ

剪不断 理
Jiǎn bùduàn lǐ hái luàn
เจี่ยนปู๋ต้วน หลี่ไหล่วน
ตัดไม่ขาด ใจว้าวุ่น

是离愁
Shì líchóu
ซื่อหลีชิว
คือความอาลัยเมื่อจากบ้านเกิดเมืองนอน

有一番滋味在心
Biéyǒuyīfān zīwèi zài xīntóu
เปี๋ยโหย่วอี้ฟานจือเว่ยไจ้ซินโถว
คงความรู้สึกหนึ่ง ดำรงอยู่ในใจ
ร้องซ้ำ *-** 1 รอบ
บทความเพิ่มเติม
   หลิว จยาชัง(刘家昌) มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในฐานะศิลปินนักแต่งเพลงมือฉกาจแห่งวงการเพลงไต้หวัน บทเพลงฮิตในยุค 70s - 80s มากกว่าครึ่งมาจากปลายปากกาและมันสมองของเขา สร้างผลงานให้เหล่านักร้องดังแห่งยุคหลายต่อหลายคนร้องจนโด่งดังมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็น เติ้ง ลี่จวิน,โหยว หย่า, เฟ่ย อี้ว์ชิง,เฉิน ซูฮว่า,เจิน หนี, เฟิ่ง เฟยเฟย เป็นต้น ผลงานของเขารวมแล้วทั้งสิ้นมากกว่า 2000 เพลง ซึ่งนอกจากงานเพลงแล้ว หลิว จยาชัง ยังเป็นผู้กำกับภาพยนตร์อีกด้วย
   หลิว จยาชัง เกิดเมื่อปี ค.ศ.1940 เป็นชาวฮาร์บิน จีนแผ่นดินใหญ่ แต่ย้ายตามบิดามารดา ไปอยู่เกาหลีใต้ตั้งแต่เล็ก ปี 1962 เดินทางมาศึกษาต่อที่คณะการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยการเมืองการปกครองแหงไต้หวัน จากนั้น 2 ปี เขาลาออกจากมหาวิทยาลัยไปทำอาชีพร้องเพลงตามไนท์คลับ รวมทั้งรับจ้างแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ไปพร้อมๆ กัน ก่อนที่จะตัดสินใจแต่งงานกระทันหันกับ เจียง ชิง นักแสดงอุปรากรจีนตัวนางในปี 1966 และหย่ากันในอีก 4 ปีถัดมา
    แม้ชีวิตรักครั้งแรกจะอับปาง แต่ด้านการงานของหลิว จยาชัง กลับรุ่งโรจน์ ในยุค 70s - 80s เขาคือนักแต่งเพลงไต้หวันที่ไม่มีใครไม่รู้จัก มีผู้เคยกว่าวไว้ว่าในช่วงเวลา 30 ปีแห่งความรุ่งเรือง มีบุคคลอยู่ 3 คนที่มีคุณูปการอย่างยิ่งต่อวงการเพลงไต้หวันสากล นั่นคือยุค 70s ของ หลิว จยาชัง ยุค 80s ของหลัว ต้าโย่ว และยุค 90s ของหลี่ จงเซิ่ง ขณะเดียวกัน เนื่องจากการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านดนตรีและบันเทิงในยุค 70s ด้อยกว่ายุคอื่นๆ มีเพียงวิทยุ โทรทัศน์ โรงภาพยนตร์ ไม่เหมือนสมัยใหม่ที่มีทั้งคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แทปแล็ต อินเตอร์เน็ต ที่พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ ในแต่ละยุค ดังนั้นในบรรดาบุคลากรทั้ง 3 นักวิจารณ์จึงยกให้ หลิว จยาชัง มีอิทธิพลต่อวงการเพลงมากที่สุดในแง่ที่สามารถฝ่ากำแพงด้านการสื่อสารนำพาให้ดนตรีและเพลงไต้หวันโด่งดังไปทั่วเอเชียได้สำเร็จ

(
เพลงนี้ หลิว จยาชัง นำเนื้อเพลงมาจากบทประพันธ์ที่ชื่อ "เซียงเจี้ยนฮวน(见欢)" ของ หลี่ อี้ว์ หรือ หลี่ โฮ่วจู่ เจ้าครองแคว้นหนานถัง(ถังใต้) ยุคห้าราชวงศ์(五代) ผู้อ่อนด้อยในด้านการทหารและการปกครอง แต่มีความโดดเด่นทางด้านดนตรี ศิลปะ โคลงกลอนและการเขียนอักษรจีนอย่างยิ่ง)


Credited by :
http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9570000046616